1.สืบค้นจากหนังสือหรือในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
ตอบ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ซึ่งหลักสูตรแบบอิงมาตรฐาน (Standards-Based Curricullum) อาจสรุปเป็นหัวใจ ได้ดังนี้
เริ่มจากวิสัยทัศน์ :
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
6 มาจาก หลักการ 6 ประการ
5 มาจาก จุดหมาย 5 ประการ
5 มาจาก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 ประการ
8 มาจาก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
8 มาจาก มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระ (Strans) 67 มาตรฐานตัวบ่งชี้
3 มาจาก กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 ประการ
วิสัยทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักการมี 3 ประการดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด การเรียนรู้
5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จุดหมาย
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ ได้กำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
มาตรฐานการเรียนรู้
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา ได้กำหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. ภาษาต่างประเทศ
ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม ที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน
1. ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3)
2 . ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศึกษาปีที่ 4- 6)
หลักสูตรได้มีการกำหนดรหัสกำกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อความเข้าใจและให้สื่อสารตรงกัน ดังนี้
ว 1.1 ป. 1/2
ป.1 /2 ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2
1 .1 สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1
ว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ต 2.2 ม.4 -6/ 3
ม.4 -6/3 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ 3
2 .3 สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 2
ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
2.แลกเปลี่ยนแนวคิดกับเพื่อนนักศึกษา หรือผู้รู้ เกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษาของสถานศึกษาหรือโรงเรียนที่สนใจ
ตอบ
โรงเรียนอนุบาลศรีวัฒนาวิทยา สพป.สระแก้ว เขต 2
คำนำ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลศรีวัฒนาวิทยา พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัดทำขึ้นเพื่อจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกับคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่สพฐ.1239/2560 เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 นำไปเป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นเรียน ให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้อง
กับการเปลี่ยนแปลงทางเศษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว
เป็นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนของชาติให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษที่ 21 และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขัน
และดำรงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ และคำสั่งคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 921/2561 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
และสาระที่ 3 เทคโนโลยีสานสนเทศและการสื่อสาร
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลศรีวัฒนาวิทยา พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำเร็จได้เพราะความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลศรีวัฒนาวิทยาเล่มนี้
จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการจัดการศึกษาต่อไป
โรงเรียนอนุบาลศรีวัฒนาวิทยา
ส่วนนำ
วิสัยทัศน์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลศรีวัฒนาวิทยา มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลัง
ของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย
ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก
ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า
ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด
ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง
ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด
เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็นระบบ
เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้
ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ
ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
การเรียนรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
การทำงานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
การจัดการปัญหาและความ ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม
ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน
การแก้ปัญหาอย่าสร้างสรรค์ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
๑. รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
ทำไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ
ว่ามนุษย์ดำรงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม
การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา
เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ ทำให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น
มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม
สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก
เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน
และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม
เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้
ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
โดยได้กำหนดสาระต่าง ๆ ไว้ ดังนี้
·
ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง
และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม
พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม
·
หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม
และการดำเนินชีวิต
ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ลักษณะและความสำคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ค่านิยม ความเชื่อ
ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ
หน้าที่ เสรีภาพการดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
·
เศรษฐศาสตร์ การผลิต
การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหาร
จัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ
การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
·
ประวัติศาสตร์
เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์
พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน
ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ
ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สำคัญในอดีต
บุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลก
·
ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศของประเทศไทย
และภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่าง ๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนำเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา
หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง
ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ
ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม
และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ
ธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ
สังคมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น
ศรัทธา
และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑
เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ
และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
และความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่
๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน
ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย
ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน
ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง
ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน
ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย
วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย
สาระที่
๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน
ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม
มีจิตสำนึก
และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นประถมศึกษาปีที่
๓
· ได้เรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง
ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยู่อาศัย และเชื่องโยงประสบการณ์ไปสู่โลกกว้าง
· ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะกระบวนการ
และมีข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม
ประพฤติปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็น พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ
การอยู่ร่วมกันและการทำงานกับผู้อื่น มีส่วนร่วมในกิจกรรมของ ห้องเรียน
และได้ฝึกหัดในการตัดสินใจ
· ได้ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง
ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการ
บูรณาการผู้เรียนได้เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับปัจจุบันและอดีต
มีความรู้พื้นฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเกี่ยวกับรายรับ-รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภค
รู้จักการออมขั้นต้นและ
วิธีการเศรษฐกิจพอเพียง
· ได้รับการพัฒนาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา
ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญา
เพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจในขั้นที่สูงต่อไป
จบชั้นประถมศึกษาปีที่
๖
· ได้เรียนรู้เรื่องของจังหวัด
ภาค และประทศของตนเอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพ สังคม ประเพณี
และวัฒนธรรม รวมทั้งการเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจโดยเน้นความเป็นประเทศไทย
· ได้รับการพัฒนาความรู้และความเข้าใจ
ในเรื่องศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ
รวมทั้งมีส่วนร่วมศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนา มากยิ่งขึ้น
· ได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามสถานภาพ
บทบาท สิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของ
ท้องถิ่น จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทั้งได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรม ของท้องถิ่นตนเองมากยิ่งขึ้น
· ได้ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่ พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์
และภูมิศาสตร์เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่การทำความเข้าใจ ในภูมิภาค
ซีกโลกตะวันออกและตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมความเชื่อ
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การดำเนินชีวิต
การจัดระเบียบทางสังคมและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดีตสู่ปัจจุบัน
โครงสร้างเวลาเรียน
หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนอนุบาลศรีวัฒนาวิทยา
รายวิชา / กิจกรรม
|
เวลาเรียน
|
|||||
ระดับประถมศึกษา
|
||||||
ป.๑
|
ป.๒
|
ป.๓
|
ป.๔
|
ป.๕
|
ป.๖
|
|
กลุ่มสาระการเรียนรู้
|
||||||
ภาษาไทย
|
200
|
200
|
200
|
๑๖๐
|
๑๖๐
|
๑๖๐
|
คณิตศาสตร์
|
๒๐๐
|
๒๐๐
|
๒๐๐
|
๑๖๐
|
๑๖๐
|
๑๖๐
|
วิทยาศาสตร์
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
40
|
40
|
4๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
ประวัติศาสตร์
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
สุขศึกษาและพลศึกษา
|
40
|
4๐
|
4๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
ศิลปะ
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
ภาษาต่างประเทศ
|
12๐
|
12๐
|
12๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
รวมเวลาเรียน
(พื้นฐาน)
|
๘๔๐
|
๘๔๐
|
๘๔๐
|
๘๔๐
|
๘๔๐
|
๘๔๐
|
รายวิชาเพิ่มเติม
|
||||||
หน้าที่พลเมือง
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
|
80
|
80
|
80
|
40
|
40
|
40
|
รวมเวลาเรียน (เพิ่มเติม)
|
120
|
120
|
120
|
80
|
80
|
80
|
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
|
||||||
กิจกรรมแนะแนว
|
40
|
40
|
40
|
40
|
40
|
40
|
กิจกรรมนักเรียน
- กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
|
40
(10)
|
40
(10)
|
40
(10)
|
40
(10)
|
40
(10)
|
40
(10)
|
-
ชุมนุม
|
40
|
40
|
40
|
40
|
40
|
40
|
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
|
120
|
120
|
120
|
120
|
120
|
120
|
รวมเวลาเรียนทั้งหมด
|
๑,08๐ ชั่วโมง / ปี
|
๑,04๐ ชั่วโมง / ปี
|
โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี ระดับประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
รายวิชา / กิจกรรม
|
เวลาเรียน (ช.ม. / ปี)
|
|
รายวิชาพื้นฐาน
|
(๘4๐)
|
|
ท๑๑๑๐๑
|
ภาษาไทย
|
200
|
ค๑๑๑๐๑
|
คณิตศาสตร์
|
๒๐๐
|
ว๑๑๑๐๑
|
วิทยาศาสตร์
|
๘๐
|
ส๑๑๑๐๑
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
40
|
ส๑๑๑๐๒
|
ประวัติศาสตร์
|
๔๐
|
พ๑๑๑๐๑
|
สุขศึกษาและพลศึกษา
|
40
|
ศ๑๑๑๐๑
|
ศิลปะ
|
๘๐
|
ง๑๑๑๐๑
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
๔๐
|
อ๑๑๑๐๑
|
ภาษาอังกฤษ
|
120
|
รายวิชาเพิ่มเติม
|
(120)
|
|
ส
11231
|
หน้าที่พลเมือง
1
|
40
|
อ
11201
|
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
1
|
80
|
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
|
(๑๒๐)
|
|
กิจกรรมแนะแนว
|
๔๐
|
|
กิจกรรมนักเรียน
- กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
|
40
(10)
|
|
- ชุมนุม
|
๔๐
|
|
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น
|
๑,080
|
หมายเหตุ ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
ในกิจกรรมลูกเสือและเนตรนารี
โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี ระดับประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา / กิจกรรม
|
เวลาเรียน (ช.ม. / ปี)
|
|
รายวิชาพื้นฐาน
|
(๘4๐)
|
|
ท๑2๑๐๑
|
ภาษาไทย
|
๒0๐
|
ค๑2๑๐๑
|
คณิตศาสตร์
|
๒๐๐
|
ว๑2๑๐๑
|
วิทยาศาสตร์
|
๘๐
|
ส๑2๑๐๑
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
4๐
|
ส๑2๑๐๒
|
ประวัติศาสตร์
|
๔๐
|
พ๑2๑๐๑
|
สุขศึกษาและพลศึกษา
|
4๐
|
ศ๑2๑๐๑
|
ศิลปะ
|
๘๐
|
ง๑2๑๐๑
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
๔๐
|
อ๑2๑๐๑
|
ภาษาอังกฤษ
|
12๐
|
รายวิชาเพิ่มเติม
|
(120)
|
|
ส
12232
|
หน้าที่พลเมือง
2
|
40
|
อ
12201
|
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
2
|
80
|
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
|
(๑๒๐)
|
|
กิจกรรมแนะแนว
|
๔๐
|
|
กิจกรรมนักเรียน
- กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
|
40
(10)
|
|
- ชุมนุม
|
๔๐
|
|
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น
|
๑,๐8๐
|
หมายเหตุ ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
ในกิจกรรมลูกเสือและเนตรนารี
โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี ระดับประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
รายวิชา / กิจกรรม
|
เวลาเรียน (ช.ม. / ปี)
|
|
รายวิชาพื้นฐาน
|
(๘4๐)
|
|
ท๑3๑๐๑
|
ภาษาไทย
|
๒0๐
|
ค๑3๑๐๑
|
คณิตศาสตร์
|
๒๐๐
|
ว๑3๑๐๑
|
วิทยาศาสตร์
|
๘๐
|
ส๑3๑๐๑
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
4๐
|
ส๑3๑๐๒
|
ประวัติศาสตร์
|
๔๐
|
พ๑3๑๐๑
|
สุขศึกษาและพลศึกษา
|
4๐
|
ศ๑3๑๐๑
|
ศิลปะ
|
๘๐
|
ง๑3๑๐๑
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
๔๐
|
อ๑3๑๐๑
|
ภาษาอังกฤษ
|
12๐
|
รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมเพิ่มเติม
|
(120)
|
|
ส
13233
|
หน้าที่พลเมือง
3
|
40
|
อ
13201
|
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
3
|
80
|
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
|
(๑๒๐)
|
|
กิจกรรมแนะแนว
|
๔๐
|
|
กิจกรรมนักเรียน
- กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
|
40
(10)
|
|
- ชุมนุม
|
๔๐
|
|
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น
|
๑,๐8๐
|
หมายเหตุ ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
ในกิจกรรมลูกเสือและเนตรนารี
โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี ระดับประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
รายวิชา / กิจกรรม
|
เวลาเรียน (ช.ม. / ปี)
|
|
รายวิชาพื้นฐาน
|
(๘4๐)
|
|
ท๑4๑๐๑
|
ภาษาไทย
|
๑๖๐
|
ค๑4๑๐๑
|
คณิตศาสตร์
|
๑๖๐
|
ว๑4๑๐๑
|
วิทยาศาสตร์
|
๘๐
|
ส๑4๑๐๑
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
๘๐
|
ส๑4๑๐๒
|
ประวัติศาสตร์
|
๔๐
|
พ๑4๑๐๑
|
สุขศึกษาและพลศึกษา
|
๘๐
|
ศ๑4๑๐๑
|
ศิลปะ
|
๘๐
|
ง๑4๑๐๑
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
๘๐
|
อ๑4๑๐๑
|
ภาษาอังกฤษ
|
๘๐
|
รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมเพิ่มเติม
|
(80)
|
|
ส
14234
|
หน้าที่พลเมือง
4
|
40
|
อ
14201
|
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
4
|
40
|
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
|
(๑๒๐)
|
|
กิจกรรมแนะแนว
|
๔๐
|
|
กิจกรรมนักเรียน
- กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
|
40
(10)
|
|
- ชุมนุม
|
๔๐
|
|
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น
|
๑,๐4๐
|
หมายเหตุ ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
ในกิจกรรมลูกเสือและเนตรนารี
โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี ระดับประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
รายวิชา / กิจกรรม
|
เวลาเรียน (ช.ม. / ปี)
|
|
รายวิชาพื้นฐาน
|
(๘4๐)
|
|
ท๑5๑๐๑
|
ภาษาไทย
|
๑๖๐
|
ค๑5๑๐๑
|
คณิตศาสตร์
|
๑๖๐
|
ว๑5๑๐๑
|
วิทยาศาสตร์
|
๘๐
|
ส๑5๑๐๑
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
๘๐
|
ส๑5๑๐๒
|
ประวัติศาสตร์
|
๔๐
|
พ๑5๑๐๑
|
สุขศึกษาและพลศึกษา
|
๘๐
|
ศ๑5๑๐๑
|
ศิลปะ
|
๘๐
|
ง๑5๑๐๑
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
๘๐
|
อ๑5๑๐๑
|
ภาษาอังกฤษ
|
๘๐
|
รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมเพิ่มเติม
|
(80)
|
|
ส
15235
|
หน้าที่พลเมือง
5
|
40
|
อ
15201
|
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
5
|
40
|
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
|
(๑๒๐)
|
|
กิจกรรมแนะแนว
|
๔๐
|
|
กิจกรรมนักเรียน
- กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
|
40
(10)
|
|
- ชุมนุม
|
๔๐
|
|
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น
|
๑,๐4๐
|
หมายเหตุ ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
ในกิจกรรมลูกเสือและเนตรนารี
โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี ระดับประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
รายวิชา / กิจกรรม
|
เวลาเรียน (ช.ม. / ปี)
|
|
รายวิชาพื้นฐาน
|
(๘4๐)
|
|
ท๑6๑๐๑
|
ภาษาไทย
|
๑๖๐
|
ค๑6๑๐๑
|
คณิตศาสตร์
|
๑๖๐
|
ว๑6๑๐๑
|
วิทยาศาสตร์
|
๘๐
|
ส๑6๑๐๑
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
๘๐
|
ส๑6๑๐๒
|
ประวัติศาสตร์
|
๔๐
|
พ๑6๑๐๑
|
สุขศึกษาและพลศึกษา
|
๘๐
|
ศ๑6๑๐๑
|
ศิลปะ
|
๘๐
|
ง๑6๑๐๑
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
๘๐
|
อ๑6๑๐๑
|
ภาษาอังกฤษ
|
๘๐
|
รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมเพิ่มเติม
|
(80)
|
|
ส
16236
|
หน้าที่พลเมือง
6
|
40
|
อ
16201
|
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
6
|
40
|
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
|
(๑๒๐)
|
|
กิจกรรมแนะแนว
|
๔๐
|
|
กิจกรรมนักเรียน
- กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี
- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
|
40
(10)
|
|
- ชุมนุม
|
๔๐
|
|
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น
|
๑,๐4๐
|
หมายเหตุ ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
ในกิจกรรมลูกเสือและเนตรนารี
ตัวชี้วัดชั้นปี
/
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
|
|||||||||
กลุ่มสาระการเรียนรู้
|
ตัวชี้วัดชั้นปี
|
รวม
|
|||||||
สาระ
|
มาตรฐาน
|
ป.๑
|
ป. ๒
|
ป. ๓
|
ป.๔
|
ป.๕
|
ป.๖
|
||
๑. ภาษาไทย
|
๕
|
๕
|
๒๒
|
๒๗
|
๓๑
|
๓๓
|
๓๓
|
๓๔
|
๑๘๐
|
๒. คณิตศาสตร์
|
๖
|
๑๔
|
๑๕
|
๒๓
|
๒๘
|
๒๙
|
๒๙
|
๓๑
|
๑๕๕
|
๓. วิทยาศาสตร์
|
๘
|
๑๓
|
๑๖
|
๒๓
|
๒๘
|
๒๑
|
๓๔
|
๓๗
|
๑๕๙
|
๔. สังคมศึกษา ฯ
|
๕
|
๑๑
|
๓๒
|
๓๔
|
๓๙
|
๓๘
|
๓๗
|
๓๙
|
๒๑๙
|
๕. สุขศึกษาและพลศึกษา
|
๕
|
๖
|
๑๕
|
๒๑
|
๑๘
|
๑๙
|
๒๕
|
๒๒
|
๑๒๐
|
๖. ศิลปะ
|
๓
|
๖
|
๑๘
|
๒๕
|
๒๙
|
๒๙
|
๒๖
|
๒๗
|
๑๕๔
|
๗. การงานอาชีพฯ
|
๔
|
๔
|
๕
|
๑๐
|
๘
|
๑๐
|
๑๓
|
๑๓
|
๕๙
|
๘. ภาษาต่างประเทศ
|
๔
|
๘
|
๑๖
|
๑๖
|
๑๘
|
๒๐
|
๒๐
|
๒๐
|
๑๑๐
|
รวม
|
๔๐
|
๖๗
|
๑๓๙
|
๑๗๙
|
๑๙๙
|
๑๙๙
|
๒๑๗
|
๒๒๓
|
๑,๑๕๖
|
ที่มา : https://drive.google.com/drive/folders/1XBoMv8BqAAbAmrwvdS6Ec3k27CyVfPcr
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น